IFKNews |
- 神恵内村議会 請願受け議論開始|NHK 北海道のニュース - nhk.or.jp
- 久保建英と岡崎慎司。新環境の2人が開幕戦で見せた「明るい兆し」 - Sportiva
- カヌー競技が好きか、嫌いか 寺岡良治 | LAKES MAGAZINE WEB - lakesmagazine.jp
- 百歳以上が初の8万人超 半世紀連続で増加、厚労省 - 日本経済新聞
- 金星に生命の痕跡か(2020年9月15日) - テレ東NEWS
- 初代「電車でGO!」スマホで遊べる特設サイトオープン シリーズ最新作「電車でGO!!はしろう山手線」と比較した映像も - ねとらぼ
- ดาวศุกร์อาจมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่! ทีมนักดาราศาสตร์ค้นพบ "ฟอสฟีน" ที่เป็นหลักฐานสำคัญ - Sanook
- เผยหลักฐานสำคัญบ่งชี้พบสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - สำนักข่าว ไอเอ็นเอ็น
- 錦織、復帰後初勝利も「まだ完璧ではない」 次戦はワウリンカの可能性<男子テニス>(tennis365.net) - スポーツナビ
- 金星に生命の痕跡か 大気からホスフィン検出 - AFPBB News
- Nintendo Switch本体アップデート10.2.0配信開始。システムの安定性や利便性を向上 - ファミ通.com
- พบหลักฐาน ที่อาจบ่งชี้ถึง สิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - ประชาชาติธุรกิจ
- พบปริศนา ชี้อาจมีสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - NationTV
- 錦織圭383日ぶり勝利、ラモスにストレート勝ち - ニッカンスポーツ
- 「難しい状況だった」 ビジャレアル久保建英、新天地リーグデビュー戦の現地評価は?(Football ZONE web) - Yahoo!ニュース
- 総力G倒、まずは菅野ぶっ潰す!阪神・矢野監督「負けをつける」 - サンケイスポーツ
- 【竹岡圭の大きな夢を】第12回「大事な仲間や応援してくれる方と、ずっとラリーを続けたい」北川紗衣さん(レスポンス) - Yahoo!ニュース
- シャープ、不織布マスク「小さめサイズ」抽選発売。女性や小学校高学年以上の子供の顔にフィット(Impress Watch) - Yahoo!ニュース
- 「原発事故も自助か」 帰還困難区域の被災者が菅氏に訴え 福島 - 毎日新聞 - 毎日新聞
- 金星に生命体? 硫酸の雲からホスフィンガス検出、潜在的痕跡か(字幕・15日) - ロイター (Reuters Japan)
- 錦織が嬉しい復帰後初勝利!ATPも「ケイの新しい武器」を称賛(THE TENNIS DAILY) - Yahoo!ニュース
- 開幕戦で日本人対決実現、久保建英と岡崎の評価は… - ニッカンスポーツ
- 「データ以上、企画未満」にご用心! 顧客データに基づいて企画を作るには - Web担当者Forum
神恵内村議会 請願受け議論開始|NHK 北海道のニュース - nhk.or.jp Posted: 14 Sep 2020 09:17 PM PDT いわゆる「核のごみ」の最終処分場の選定をめぐって、後志の神恵内村の商工会から請願が提出されたことを受けて、15日から始まった村議会で請願を採択するか議論が始まりました。 神恵内村では今月8日、原子力発電所から出る高レベル放射性廃棄物、いわゆる「核のごみ」の最終処分場の選定をめぐって、商工会から村議会に調査への応募を検討するよう求める請願が提出されました。 "議論" - Google ニュース September 15, 2020 at 10:00AM https://ift.tt/3mnpabi 神恵内村議会 請願受け議論開始|NHK 北海道のニュース - nhk.or.jp "議論" - Google ニュース https://ift.tt/2RYl2jG Shoes Man Tutorial Pos News Update Meme Update Korean Entertainment News Japan News Update |
久保建英と岡崎慎司。新環境の2人が開幕戦で見せた「明るい兆し」 - Sportiva Posted: 14 Sep 2020 09:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com 2020-21シーズン、リーガ・エスパニョーラ開幕戦。ビジャレアル対ウエスカは、久保建英と岡崎慎司の"日本人対決"として注目を浴びた。しかし、試合結果(1-1)に対する各スポーツ紙の見出しは現実的だった。 「(ウナイ・)エメリもスタートに躓く」(『アス』紙) ビジャレアルは2014年から開幕戦で勝っておらず、新監督エメリも例外ではなかったというわけだ。 「エメリに初めての"イエローカード"」(『マルカ』紙) ビジャレアルが昇格組のウエスカに苦戦し、どうにかVARで引き分けた、という論調だ。 「VARがビジャレアルの勝ち点獲得を救い、ウエスカの勝利を妨げた」(『ムンド・デポルティーボ』紙) 3紙が共通して最も高い評価を与えたのが、ビジャレアルがPKで得点を決めたジェラール・モレノ、ウエスカがアンドレス・フェルナンデスだった。その次がウエスカの得点者であるパブロ・マフェオか。ちなみに、ファインセーブを見せたウエスカのアンドレス・フェルナンデスは、開幕直前にビジャレアルから移籍したGKだ。主題は、エメリ新体制への査定になっている。 久保と岡崎、日本人2人についての記述は限定的だった。事実、勝敗を決するプレーは見せていない。 しかし、彼らは"明るい兆し"を見せている――。 まず、久保は77分からの途中出場だった。パコ・アルカセルとの交代で、トップ下でプレー。同点の場面で、勝利の切り札としての投入だった。その点では満足な成果は残せていない。 マジョルカ時代以上に、敵の警戒度が上がっているのだろう。久保がドリブルで加速する前に、力づくでも止める、という気配が漂った。事実、その突破は反則まがいのチャージに何度も止められていた。終了間際、久保は無理に割って入ろうとしたところで強引にボールを奪われ、カウンターを浴びるシーンもあった。途中から試合に入る難しさもあっただろう。 しかし、いい兆候もあった。 からの記事と詳細 https://ift.tt/2RpI8Qj スポーツ |
カヌー競技が好きか、嫌いか 寺岡良治 | LAKES MAGAZINE WEB - lakesmagazine.jp Posted: 14 Sep 2020 08:54 PM PDT comot.prelol.com 2020.09.15 カヌー競技が好きか、嫌いか 寺岡良治カヌー競技が好きか、嫌いか私は、この文章を書こうと思った時に「私はカヌーのことが好きなのか」ともう一度考えました。結果は、「カヌーは好きではないが好き」と曖昧な答えになってしまいました。(笑) カヌー競技がそこまで好きではないからこそ、カヌーに熱中することができているのだと思います。 時には好きになったり嫌いになったりして今までカヌー競技と向き合ってきました。私はカヌー競技と向き合ってきて、カヌーで多くのことを経験し、多くの成長を与えてくれるツールとして考えてきました。 そこまでカヌーが好きではないのに、カヌー競技をなぜ続けているのか。それは、「日本一」になりたいという思いが強くあったからです。何か1つの分野でも日本で1番になるのは非常に稀なことであり、難しいということを知ってから、日本一になりたいと強く願いカヌー競技を続けています。 全日本学生選手権は9月19日〜22日に行われます。応援よろしくお願い致します。 "それが好き" - Google ニュース September 15, 2020 at 09:33AM https://ift.tt/33s1Wbn カヌー競技が好きか、嫌いか 寺岡良治 | LAKES MAGAZINE WEB - lakesmagazine.jp "それが好き" - Google ニュース https://ift.tt/2uz367i Mesir News Info Israel News info Taiwan News Info Vietnam News and Info Japan News and Info Update https://ift.tt/2SIu0T8 |
百歳以上が初の8万人超 半世紀連続で増加、厚労省 - 日本経済新聞 Posted: 14 Sep 2020 08:54 PM PDT comot.prelol.com 厚生労働省は15日、「敬老の日」(今年は21日)を前に、全国の100歳以上の高齢者は過去最多の8万450人となり、初めて8万人を超えたと発表した。昨年から9176人増え、50年連続で増加。年間の増加人数も過去最多となった。女性が88.2%を占めた。 老人福祉法で「老人の日」と定めた15日時点で100歳以上の高齢者の数を、1日時点の住民基本台帳を基に集計した。男性は昨年から1011人増の9475人… "以上" - Google ニュース September 15, 2020 at 09:37AM https://ift.tt/2RowLIt 百歳以上が初の8万人超 半世紀連続で増加、厚労省 - 日本経済新聞 "以上" - Google ニュース https://ift.tt/2Oh2Twi Mesir News Info Israel News info Taiwan News Info Vietnam News and Info Japan News and Info Update https://ift.tt/2SIu0T8 |
金星に生命の痕跡か(2020年9月15日) - テレ東NEWS Posted: 14 Sep 2020 08:34 PM PDT taritkar.blogspot.com [unable to retrieve full-text content]
からの記事と詳細 https://ift.tt/33sHUxn 科学&テクノロジー |
初代「電車でGO!」スマホで遊べる特設サイトオープン シリーズ最新作「電車でGO!!はしろう山手線」と比較した映像も - ねとらぼ Posted: 14 Sep 2020 08:34 PM PDT taritkar.blogspot.com 鉄道シミュレーターシリーズ最新作「電車でGO!!はしろう山手線」の発売決定を記念して、初代「電車でGO!」がスマホで遊べる特設サイトがオープンしました。 特設サイトにアクセスするだけで「電車でGO!」の体験プレイが可能。用意されている区間は山手線渋谷〜恵比寿、恵比寿〜目黒、目黒〜五反田の3種類です。 ブレーキレバーやスロットルなど、スマホならではの直感的な操作で遊べる仕様となっており、初めて遊ぶ人でもわかりやすい説明もついています。 特設サイトのオープンに合わせて、シリーズ最新作として12月3日に発売が決定した「電車でGO!!はしろう山手線」と初代のゲーム画面を比較した映像がYouTubeで公開されています。 3Dグラフィックの進化だけでなく、沿線の景色やホームドアの追加など、新旧の違いを見比べてみると時代の流れが感じられます。 【訂正 2020年9月15日9時】初出時、タイトルの一部に誤記がありました。お詫びして訂正いたします。ご指摘いただいた読者の方、誠にありがとうございます。 Copyright © ITmedia, Inc. All Rights Reserved. からの記事と詳細 https://ift.tt/3irH2PQ 科学&テクノロジー |
ดาวศุกร์อาจมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่! ทีมนักดาราศาสตร์ค้นพบ "ฟอสฟีน" ที่เป็นหลักฐานสำคัญ - Sanook Posted: 14 Sep 2020 08:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com มติพล ตั้งมติธรรม ผู้เชี่ยวชาญด้านดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) เปิดเผยว่า ทีมนักดาราศาสตร์นำโดย Jane Greaves จาก Cardiff University สหราชอาณาจักรเผยถึงการค้นพบโมเลกุลของฟอสฟีน ซึ่งอาจจะบ่งชี้ถึงความเป็นไปได้ที่อาจจะเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ในงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร Nature Astronomy เมื่อวานนี้ (14 กันยายน 2563) ชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ดาวศุกร์นั้นเป็นดาวเคราะห์ที่ได้ชื่อว่าเป็นคู่แฝดกับโลก เนื่องจากมีทั้งขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์ที่ใกล้เคียงกับโลกมากที่สุด อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าดาวศุกร์จะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์กว่าโลกเพียง 30% แต่สภาวะเรือนกระจกแบบกู่ไม่กลับทำให้ดาวศุกร์มีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น และเก็บกักความร้อนเอาไว้มหาศาลจนมีสภาวะอุณหภูมิพื้นผิวร้อนพอที่จะหลอมตะกั่วได้ นอกจากนี้ในชั้นบรรยากาศยังเต็มไปด้วยแก๊สของกรดกำมะถัน แต่ก็ยังมีความเป็นไปได้ที่ครั้งหนึ่งดาวศุกร์อาจจะเคยมีมหาสมุทรและมีสภาพอากาศที่เอื้อต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตมากกว่านี้ ก่อนที่แก๊สเรือนกระจกจะทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจกแบบกู่ไม่กลับและกลายเป็นดาวเคราะห์ที่ใกล้เคียงกับขุมนรกอเวจีมากที่สุดในทุกวันนี้ แต่หากเราพิจารณาบนชั้นบรรยากาศที่สูงขึ้นไปแล้ว เราจะพบว่าที่ความสูงราว 50 กม.เหนือพื้นผิวดาวศุกร์นั้นกลับมีสภาพอากาศที่อ่อนโยน มีอุณหภูมิเพียง 30 องศาเซลเซียส และอาจจะมีสภาพที่พอเหมาะกับสิ่งมีชีวิตได้ มีการคาดการณ์กันว่าชั้นเมฆในบรรยากาศของดาวศุกร์อาจจะมีองค์ประกอบทางเคมีเพียงพอที่จะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาที่นำไปสู่การกำเนิดของสิ่งมีชีวิต มีการคาดการณ์กันว่าหากในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นมีสิ่งมีชีวิตอยู่จริง สิ่งมีชีวิตเหล่านี้อาจจะอาศัยรังสียูวีจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน ซึ่งนี่อาจจะเป็นคำอธิบายหนึ่งถึงตัวดูดกลืนรังสียูวีปริศนาบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ที่จนทุกวันนี้เราก็ยังไม่ทราบคำตอบเป็นที่แน่ชัด นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาองค์ประกอบของดาวที่อยู่ห่างออกไปได้อย่างไร?ดาราศาสตร์นั้นเป็นศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุที่เรายังไปไม่ถึง การจะศึกษาองค์ประกอบของวัตถุใดนั้นจึงทำโดยการศึกษาสเปกตรัมที่วัตถุนั้นปลดปล่อยออกมา โมเลกุลแต่ละโมเลกุลนั้น จะมีการดูดกลืนหรือเปล่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่น แสง) ออกมาในช่วงคลื่นที่สอดคล้องกับระดับพลังงานของโมเลกุลนั้น ซึ่งระดับพลังงานเหล่านี้นั้นจะมีลักษณะเฉพาะ ขึ้นอยู่กับธาตุที่ประกอบขึ้นเป็นโมเลกุลนั้นๆ ดังนั้น หากเราสามารถสังเกตสเปกตรัมในการดูดกลืนของวัตถุที่อยู่ห่างออกไป ซึ่งมีลักษณะ และรูปแบบช่วงการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สอดคล้องกับโมเลกุลของสารที่เราสามารถวัดได้ในห้องทดลองบนโลก จึงเท่ากับเราสามารถยืนยันได้ว่าโมเลกุลชนิดเดียวกันนี้จะต้องมีอยู่บนดาวดวงที่เราทำการศึกษาอยู่ ในลักษณะเดียวกันนี้ หากเราพบการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตรงกับโมเลกุลของฟอสฟีนจากสเปกตรัมที่ได้มาจากชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ จึงเท่ากับเป็นการยืนยันว่าในชั้นบรรยากาศนั้นมีโมเลกุลของฟอสฟีนอยู่ อย่างไรก็ตาม เส้นสเปกตรัมที่เกิดขึ้นในโมเลกุลของฟอสฟีนนั้นอยู่ในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 1 มิลลิเมตร ซึ่งนอกจากจะเป็นช่วงคลื่นที่อยู่ในช่วงอินฟราเรดที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าแล้ว ยังเป็นช่วงคลื่นที่สามารถถูกดูดกลืนได้ง่ายโดยความชื้นในชั้นบรรยากาศของโลก การจะศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ในช่วงคลื่นนี้จึงสามารถทำได้เพียงจากหอสังเกตการณ์ที่ตั้งอยู่บนภูเขาสูงและแห้งแล้ง ปราศจากซึ่งไอน้ำในชั้นบรรยากาศ ซึ่งทางทีมงานได้ค้นพบสเปกตรัมที่เกิดขึ้นจากโมเลกุลของฟอสฟีนบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ขึ้นเป็นครั้งแรกผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ James Clerk Maxwell Telescope (JCMT) บนยอดเขาโมนาเคอา ในหมู่เกาะฮาวาย จึงได้ศึกษาซ้ำโดยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ 45 ตัวของ Atacama Large Millimeter/submillimeter Array (ALMA) ในทะเลทรายของประเทศชิลี และได้ยืนยันการค้นพบการดูดกลืนในช่วงคลื่นที่ตรงกับโมเลกุลของฟอสฟีน เหนือความร้อนระอุจากพื้นผิวดาวศุกร์ที่อยู่เบื้องล่าง จึงเท่ากับเป็นการยืนยันการมีอยู่ของฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ฟอสฟีนคืออะไร สำคัญอย่างไร?ฟอสฟีน (Phosphine) เป็นโมเลกุลที่เป็นสารประกอบระหว่างธาตุฟอสฟอรัสและไฮโดรเจน มีสูตรทางเคมี PH3 คล้ายกับโมเลกุลของแอมโมเนียที่ถูกแทนที่ด้วยฟอสฟอรัส บนโลกนั้นฟอสฟีนมีสถานะเป็นแก๊สที่ไม่มีสี ไวไฟ และเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทำให้การค้นพบฟอสฟีนบนดาวดวงอื่นเป็นสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างมากนั้น เนื่องจากบนโลกนั้นฟอสฟีนมีแหล่งกำเนิดเพียงแค่สองแหล่ง คือ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรม หรือเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากออกซิเจน ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าบนโลกนั้นแหล่งกำเนิดหลักของฟอสฟีนเกิดขึ้นจากปฏิกิริยารีดักชันของสารประกอบพวกฟอสเฟต แต่ไม่มีสภาพแวดล้อมใดบนโลกที่สามารถผลิตตัวรีดิวซ์ที่มีความแข็งแรงเพียงพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยารีดักชันที่ผลิตฟอสฟีนได้อีกเลยนอกไปจากตัวรีดิวซ์ที่พบในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ฟอสฟีนยังสามารถทำปฏิกิริยากับสารประกอบอื่นได้ง่าย การที่จะพบฟอสฟีนอยู่ในชั้นบรรยากาศได้จึงจำเป็นที่จะต้องมีแหล่งที่ผลิตฟอสฟีนมาชดเชยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคำถามแรกที่นักดาราศาสตร์จะต้องตอบให้ได้เสียก่อน ก็คือ มีกลวิธีใดอีกไหมบนดาวศุกร์ ที่อาจจะทำให้เกิดโมเลกุลของฟอสฟีนได้ ทีมนักวิจัยที่นำโดย William Bains จาก Massachusetts Institute of Technology (MIT) จึงลองทำการประเมินกลไกตามธรรมชาติที่อาจจะผลิตฟอสฟีนได้บนดาวศุกร์ ตั้งแต่ แสงแดด แร่ธาตุทื่ถูกพัดขึ้นมาจากพื้นผิวเบื้องล่าง ภูเขาไฟระเบิด ฟ้าผ่า ฯลฯ แต่ไม่ว่าจะลองพิจารณาเช่นไร การคำนวณก็พบว่าแหล่งกำเนิดตามธรรมชาติเหล่านี้ไม่สามารถที่จะผลิตแม้กระทั่งปริมาณฟอสฟีนหนึ่งในหมื่นของที่ตรวจพบโดยกล้องโทรทรรศน์ แต่ในทางตรงกันข้าม หากทีมลองพิจารณาถึงแหล่งกำเนิดที่เกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตแล้ว กลับพบว่าหากสิ่งมีชีวิตทำงานแค่เพียง 10% ของขีดจำกัดสูงสุด ก็จะสามารถผลิตฟอสฟีนเพียงพอที่จะอธิบายปริมาณที่ตรวจพบบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ได้แล้ว เท่ากับว่าเราค้นพบสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์หรือไม่?การค้นพบฟอสฟีนในปริมาณที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยกลไกตามธรรมชาตินั้นเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่ง และทำให้เราต้องกลับมาพิจารณาทฤษฎีการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์อีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม การค้นพบนี้ยังห่างไกลจากการยืนยันถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตพอสมควร แม้ว่าในปัจจุบัน ทฤษฎีที่บ่งชี้ว่าฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตจะเป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงปริมาณฟอสฟีนที่พบได้ดีที่สุด แต่การจะยืนยันว่าดาวศุกร์นั้นมีสิ่งมีชีวิตยังเป็นเรื่องที่ห่างไกลอีกมาก แม้ว่าชั้นบรรยากาศตอนบนของดาวศุกร์อาจจะมีอุณหภูมิเพียง 30 องศา แต่ชั้นบรรยากาศในบริเวณนี้นั้นก็ยังเต็มไปด้วยกรดกำมะถันกว่า 90% ซึ่งเรายังไม่พบว่ามีสิ่งมีชีวิตใดบนโลกที่สามารถอยู่รอดในสภาวะเช่นนั้นได้ หากชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์มีสิ่งมีชีวิตจริง ก็เป็นไปได้ว่าสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์นั้นอาจจะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงกับสิ่งมีชีวิตใดๆ บนโลกที่เรารู้จัก และแน่นอนว่าก็ยังมีความเป็นไปได้ว่าฟอสฟีนที่พบนั้นอาจจะเป็นเพียงผลผลิตจากปฏิกิริยาเคมีแบบใหม่ที่เรายังไม่รู้จัก แต่นั่นก็เท่ากับเป็นการบ่งชี้ว่าความเข้าใจทางด้านเคมีที่มนุษย์เรามีนั้นยังไม่สมบูรณ์ และยังมีปฏิกิริยาแปลกประหลาดบางอย่างซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้เพียงเฉพาะในสภาพแวดล้อมอันแปลกประหลาดบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ซึ่งหากเราพิจารณาว่าสิ่งที่เรารู้จักกันว่าเป็น "สิ่งมีชีวิต" บนโลกของเรา แท้จริงแล้วก็ไม่ได้ต่างอะไรกับปฏิกิริยาทางเคมีอันซับซ้อนและแปลกประหลาดเหนือสิ่งอื่นใดในธรรมชาติเช่นเดียวกัน ซึ่งการค้นพบแหล่งที่มาของฟอสฟีนบนดาวศุกร์ในอนาคตอาจจะทำให้เราต้องมาพิจารณานิยามของสิ่งที่เราเรียกว่า "สิ่งมีชีวิต" ขึ้นเสียใหม่ก็เป็นได้ และไม่ว่าเราจะพบสิ่งมีชีวิตบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์หรือไม่ การค้นพบนี้ย่อมเท่ากับเป็นการเปิดความเป็นไปได้ใหม่ในการหาสิ่งมีชีวิตจากต่างดาวไปโดยปริยาย แน่นอนว่า การศึกษาในอนาคตจะช่วยตอบคำถามเหล่านี้ให้กับเราได้ ในอนาคตอันใกล้ทีมนักวิจัยนี้จะทำการศึกษาต่อ เพื่อค้นหาว่าฟอสฟีนจะมีอยู่ในบริเวณอื่นบนเมฆของดาวศุกร์หรือไม่ และจะมีโมเลกุลอื่นใดอีกหรือไม่ ที่จะช่วยยืนยันถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ได้ ทั้งนี้ กล้องโทรทรรศน์ JCMT ที่ได้ค้นพบฟอสฟีนบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์เป็นครั้งแรกนี้ เป็นหอดูดาวที่บริหารโดยเครือข่าย "หอดูดาวในเอเชียตะวันออก" หรือ East Asian Observatory (EAO) ซึ่งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้ร่วมลงอนุสัญญานามเป็นสมาชิกร่วมอยู่ด้วย[4] ถึงแม้ว่าอุปกรณ์ที่ตรวจพบฟอสฟีน จะถูกปลดประจำการและแทนที่ด้วยอุปกรณ์ที่ดีกว่าเดิมไปแล้ว แต่ใครจะไปรู้ ในอนาคตอันใกล้นี้ การค้นพบครั้งยิ่งใหญ่ถัดไปที่เกิดขึ้นบนหอดูดาวเช่น JCMT นี้ อาจจะมีชื่อของน้องๆ คนไทยที่กำลังอ่านบทความนี้อยู่ก็ได้ "มีชีวิต" - Google News September 15, 2020 at 08:17AM https://ift.tt/3mojLAz ดาวศุกร์อาจมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่! ทีมนักดาราศาสตร์ค้นพบ "ฟอสฟีน" ที่เป็นหลักฐานสำคัญ - Sanook "มีชีวิต" - Google News https://ift.tt/36bh0LC Home To Blog |
เผยหลักฐานสำคัญบ่งชี้พบสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - สำนักข่าว ไอเอ็นเอ็น Posted: 14 Sep 2020 08:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com ทีมนักดาราศาสตร์นำโดย Jane Greaves จาก Cardiff University สหราชอาณาจักรเผยถึงการค้นพบโมเลกุลของฟอสฟีน ซึ่งอาจจะบ่งชี้ถึงความเป็นไปได้ที่อาจจะเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ในงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสาร Nature Astronomy ในวันนี้ (14 ก.ย.63) ชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นเป็นดาวเคราะห์ที่ได้ชื่อว่าเป็นคู่แฝดกับโลก เนื่องจากมีทั้งขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์ที่ใกล้เคียงกับโลกมากที่สุด อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าดาวศุกร์จะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์กว่าโลกเพียง 30% แต่จากสภาวะเรือนกระจกทำให้ดาวศุกร์มีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น และเก็บกักความร้อนเอาไว้มหาศาลจนมีสภาวะอุณหภูมิพื้นผิวร้อนพอที่จะหลอมตะกั่วได้ มีการคาดการณ์กันว่าชั้นเมฆในบรรยากาศของดาวศุกร์อาจจะมีองค์ประกอบทางเคมีเพียงพอที่จะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาที่นำไปสู่การกำเนิดของสิ่งมีชีวิต มีการคาดการณ์กันว่าหากในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นมีสิ่งมีชีวิตอยู่จริง สิ่งมีชีวิตเหล่านี้อาจจะอาศัยรังสียูวีจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน ซึ่งนี่อาจจะเป็นคำอธิบายหนึ่งถึงตัวดูดกลืนรังสียูวีปริศนาบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ที่จนทุกวันนี้เราก็ยังไม่ทราบคำตอบเป็นที่แน่ชัด นักดาราศาสตร์ ได้ศึกษาองค์ประกอบของดาวศุกร์ โดยการศึกษาสเปกตรัมที่วัตถุนั้นปลดปล่อยออกมา ดังนั้น หากเราสามารถสังเกตสเปกตรัมในการดูดกลืนของวัตถุที่อยู่ห่างออกไป ซึ่งมีลักษณะ และรูปแบบช่วงการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สอดคล้องกับโมเลกุลของสารที่เราสามารถวัดได้ในห้องทดลองบนโลก จึงเท่ากับเราสามารถยืนยันได้ว่าโมเลกุลชนิดเดียวกันนี้จะต้องมีอยู่บนดาวดวงที่เราทำการศึกษาอยู่ ในลักษณะเดียวกันนี้ หากเราพบการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตรงกับโมเลกุลของฟอสฟีนจากสเปกตรัมที่ได้มาจากชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ จึงเท่ากับเป็นการยืนยันว่าในชั้นบรรยากาศนั้นมีโมเลกุลของฟอสฟีนอยู่ อย่างไรก็ตาม เส้นสเปกตรัมที่เกิดขึ้นในโมเลกุลของฟอสฟีนนั้นอยู่ในช่วงความยาวคลื่นประมาณ1มิลลิเมตร ซึ่งนอกจากจะเป็นช่วงคลื่นที่อยู่ในช่วงอินฟราเรดที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าแล้ว ยังเป็นช่วงคลื่นที่สามารถถูกดูดกลืนได้ง่ายโดยความชื้นในชั้นบรรยากาศของโลก การจะศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ในช่วงคลื่นนี้จึงสามารถทำได้เพียงจากหอสังเกตการณ์ที่ตั้งอยู่บนภูเขาสูงและแห้งแล้ง ปราศจากไอน้ำในชั้นบรรยากาศ ซึ่งทางทีมงานได้ค้นพบสเปกตรัมที่เกิดขึ้นจากโมเลกุลของฟอสฟีนบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ขึ้นเป็นครั้งแรกผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ James Clerk Maxwell Telescope (JCMT) บนยอดเขาโมนาเคอา ในหมู่เกาะฮาวาย จึงได้ศึกษาซ้ำโดยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ45 ตัวของ Atacama Large Millimeter/submillimeter Array (ALMA) ในทะเลทรายของประเทศชิลี และได้ยืนยันการค้นพบการดูดกลืนในช่วงคลื่นที่ตรงกับโมเลกุลของฟอสฟีน จึงเท่ากับเป็นการยืนยันการมีอยู่ของฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ สำหรับฟอสฟีน (Phosphine) นั้นเป็นโมเลกุลที่เป็นสารประกอบระหว่างธาตุฟอสฟอรัสและไฮโดรเจน มีสูตรทางเคมี PH3 คล้ายกับโมเลกุลของแอมโมเนียที่ถูกแทนที่ด้วยฟอสฟอรัส บนโลกนั้นฟอสฟีนมีสถานะเป็นแก๊สที่ไม่มีสี ไวไฟ และเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างมาก ซึ่งสิ่งที่ทำให้การค้นพบฟอสฟีนบนดาวดวงอื่นเป็นสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างมากนั้น เนื่องจากบนโลกนั้นฟอสฟีนมีแหล่งกำเนิดเพียงแค่สองแหล่ง คือ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรม หรือเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากออกซิเจน เพราะว่าบนโลกนั้นแหล่งกำเนิดหลักของฟอสฟีนเกิดขึ้นจากปฏิกิริยารีดักชันของสารประกอบพวกฟอสเฟต แต่ไม่มีสภาพแวดล้อมใดบนโลกที่สามารถผลิตตัวรีดิวซ์ที่มีความแข็งแรงเพียงพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยารีดักชันที่ผลิตฟอสฟีนได้อีกเลยนอกไปจากตัวรีดิวซ์ที่พบในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ฟอสฟีนยังสามารถทำปฏิกิริยากับสารประกอบอื่นได้ง่าย การที่จะพบฟอสฟีนอยู่ในชั้นบรรยากาศได้จึงจำเป็นที่จะต้องมีแหล่งที่ผลิตฟอสฟีนมาชดเชยอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ การค้นพบฟอสฟีนในปริมาณที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยกลไกตามธรรมชาตินั้นเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้น และทำให้ต้องกลับมาพิจารณาทฤษฎีการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์อีกครั้ง แต่การค้นพบดังกล่าวยังห่างไกลจากการยืนยันถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตพอสมควร โดยในอนาคตอันใกล้ทีมนักวิจัยนี้จะทำการศึกษาต่อ เพื่อค้นหาว่าฟอสฟีนจะมีอยู่ในบริเวณอื่นบนเมฆของดาวศุกร์หรือไม่ และจะมีโมเลกุลอื่นใดอีกหรือไม่ ที่จะช่วยยืนยันถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ได้
"มีชีวิต" - Google News September 15, 2020 at 07:52AM https://ift.tt/3kgfy08 เผยหลักฐานสำคัญบ่งชี้พบสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - สำนักข่าว ไอเอ็นเอ็น "มีชีวิต" - Google News https://ift.tt/36bh0LC Home To Blog |
錦織、復帰後初勝利も「まだ完璧ではない」 次戦はワウリンカの可能性<男子テニス>(tennis365.net) - スポーツナビ Posted: 14 Sep 2020 08:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com [unable to retrieve full-text content] 錦織、復帰後初勝利も「まだ完璧ではない」 次戦はワウリンカの可能性<男子テニス>(tennis365.net) スポーツナビGoogle ニュースですべての記事を見るからの記事と詳細 https://ift.tt/3khUwhx スポーツ |
金星に生命の痕跡か 大気からホスフィン検出 - AFPBB News Posted: 14 Sep 2020 07:34 PM PDT taritkar.blogspot.com 【9月15日 AFP】金星の大気から、地球では生命体によって生み出されるガスであるホスフィン(リン化水素)の痕跡を検出したとする研究論文が14日、英科学誌ネイチャー・アストロノミー(Nature Astronomy)に掲載された。米航空宇宙局(NASA)のジム・ブライデンスタイン(Jim Bridenstine)長官は、地球外生命体探査史上「最大」の発見だとしている。 金星は地球に最も近い惑星だが、日中の気温は鉛が溶けるほど高く、大気はほぼすべてが二酸化炭素で構成されていることから、しばしば地獄のような環境だと表現される。 論文を発表した研究チームは米ハワイとチリのアタカマ砂漠(Atacama Desert)にある望遠鏡を使い、金星の表面から約6万メートル上空にある雲の上層部を観測し、ホスフィンの痕跡を検出した。 ホスフィンは地球上では有機物の分解により発生することの多い可燃性ガス。論文の主執筆者であるカーディフ大学(Cardiff University)宇宙物理学部のジェーン・グリーブズ(Jane Greaves)氏はAFPの取材に対し、ホスフィンが地球以外の岩石惑星で検出されたのは初めてだと説明した。 研究チームは、ホスフィンの存在が金星上の生命の存在を証明するものでないと強調しているが、灼熱(しゃくねつ)の金星表面を渦巻く雲は強酸性でホスフィンを即座に破壊することから、金星にはホスフィンを生み出しているものが存在することが示されたとも指摘。観測結果は、金星に「変則的かつ未解明の化学現象」が存在する証拠となったと結論付けた。 NASAのブライデンスタイン長官はツイッター(Twitter)に「金星に生命? 嫌気性生物が生み出すホスフィンの発見は、地球外生命体の存在を示す上でこれまでで最大の進展だ。NASAは約10年前、地球の上空12万フィート(約3万6600メートル)の高層大気で微生物を発見した。金星を優先させる時がきた」と投稿した。(c)AFP からの記事と詳細 https://ift.tt/33qLMz6 科学&テクノロジー |
Nintendo Switch本体アップデート10.2.0配信開始。システムの安定性や利便性を向上 - ファミ通.com Posted: 14 Sep 2020 07:34 PM PDT taritkar.blogspot.com 2020年9月15日、任天堂はNintendo Switch本体の更新データ"システムバージョン10.2.0"の配信を開始した。
今回の更新内容は"システムの安定性や利便性の向上"で、"より快適にお楽しみいただけるよう、システムの安定性や利便性を向上させました"とのこと。詳細は任天堂のサポートページを確認してほしい。 Nintendo Switch本体の更新データは、Nintendo Switchをインターネットに接続していると、自動的にダウンロードが始まる。ダウンロードが完了していれば、ソフトを始める前に本体更新の案内が表示されるはずだ。 また、自動ダウンロードだけでなく、ホームメニューの"設定"内の最下部にある"本体"を選んで、"本体更新"を選択すれば、手動でアップデートも可能だ。 からの記事と詳細 https://ift.tt/3mpmpGe 科学&テクノロジー |
พบหลักฐาน ที่อาจบ่งชี้ถึง สิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - ประชาชาติธุรกิจ Posted: 14 Sep 2020 07:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com ทีมนักดาราศาสตร์ ค้นพบ "ฟอสฟีน" หลักฐาน ที่อาจจะบ่งชี้ถึง "สิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์" วันที่ 14 กันยายน 2563 ที่เพจเฟซบุ๊ก NARIT สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โพสต์ข้อความระบุว่า ทีมนักดาราศาสตร์นำโดย Jane Greaves จาก Cardiff University สหราชอาณาจักร เผยถึงการค้นพบโมเลกุลของฟอสฟีน ซึ่งอาจจะบ่งชี้ถึงความเป็นไปได้ที่อาจจะเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ งานวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร Nature Astronomy ชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ดาวศุกร์ เป็นดาวเคราะห์ที่ได้ชื่อว่าเป็นคู่แฝดกับโลก เนื่องจากมีทั้งขนาดและระยะห่างจากดวงอาทิตย์ที่ใกล้เคียงกับโลกมากที่สุด แม้ว่าดาวศุกร์จะอยู่ใกล้ดวงอาทิตย์กว่าโลกเพียง 30% แต่สภาวะเรือนกระจกแบบกู่ไม่กลับทำให้ดาวศุกร์มีชั้นบรรยากาศที่หนาแน่น และเก็บกักความร้อนไว้มหาศาลจนมีสภาวะอุณหภูมิพื้นผิวร้อนพอที่จะหลอมตะกั่วได้ นอกจากนี้ในชั้นบรรยากาศยังเต็มไปด้วยแก๊สของกรดกำมะถัน แต่ก็ยังมีความเป็นไปได้ที่ครั้งหนึ่งดาวศุกร์อาจเคยมีมหาสมุทรและมีสภาพอากาศที่เอื้อต่อการดำรงอยู่ของสิ่งมีชีวิตมากกว่านี้ – ก่อนที่แก๊สเรือนกระจกจะทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจกแบบกู่ไม่กลับและกลายเป็นดาวเคราะห์ที่ร้อนมากที่สุดในทุกวันนี้ แต่หากเราพิจารณาบนชั้นบรรยากาศที่สูงขึ้นไป เราจะพบว่าที่ความสูงราว 50 กม. เหนือพื้นผิวดาวศุกร์นั้นกลับมีสภาพอากาศที่อ่อนโยน มีอุณหภูมิเพียง 30 องศาเซลเซียส และอาจจะมีสภาพที่พอเหมาะกับสิ่งมีชีวิตได้ คาดการณ์กันว่าชั้นเมฆในบรรยากาศของดาวศุกร์อาจจะมีองค์ประกอบทางเคมีเพียงพอที่จะกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาที่นำไปสู่การกำเนิดของสิ่งมีชีวิต และยังคาดการณ์กันอีกว่าหากในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นมีสิ่งมีชีวิตอยู่จริง สิ่งมีชีวิตเหล่านี้อาจจะอาศัยรังสียูวีจากดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงาน ซึ่งนี่อาจเป็นคำอธิบายหนึ่งถึงตัวดูดกลืนรังสียูวีปริศนาบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ที่จนทุกวันนี้เราก็ยังไม่ทราบคำตอบเป็นที่แน่ชัด นักดาราศาสตร์สามารถศึกษาองค์ประกอบของดาวที่อยู่ห่างออกไปได้อย่างไร?ดาราศาสตร์นั้นเป็นศาสตร์ที่ศึกษาวัตถุที่เรายังไปไม่ถึง การจะศึกษาองค์ประกอบของวัตถุใดนั้นจึงทำโดยการศึกษาสเปกตรัมที่วัตถุนั้นปลดปล่อยออกมา โมเลกุลแต่ละโมเลกุลนั้น จะมีการดูดกลืนหรือเปล่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (เช่น แสง) ออกมาในช่วงคลื่นที่สอดคล้องกับระดับพลังงานของโมเลกุลนั้น ซึ่งระดับพลังงานเหล่านี้นั้นจะมีลักษณะเฉพาะ ขึ้นอยู่กับธาตุที่ประกอบขึ้นเป็นโมเลกุลนั้นๆ ดังนั้น หากเราสามารถสังเกตสเปกตรัมในการดูดกลืนของวัตถุที่อยู่ห่างออกไป ซึ่งมีลักษณะ และรูปแบบช่วงการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่สอดคล้องกับโมเลกุลของสารที่เราสามารถวัดได้ในห้องทดลองบนโลก จึงเท่ากับเราสามารถยืนยันได้ว่าโมเลกุลชนิดเดียวกันนี้จะต้องมีอยู่บนดาวดวงที่เราทำการศึกษาอยู่ ในลักษณะเดียวกันนี้ หากเราพบการดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตรงกับโมเลกุลของฟอสฟีนจากสเปกตรัมที่ได้มาจากชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ จึงเท่ากับเป็นการยืนยันว่าในชั้นบรรยากาศนั้นมีโมเลกุลของฟอสฟีนอยู่ อย่างไรก็ตาม เส้นสเปกตรัมที่เกิดขึ้นในโมเลกุลของฟอสฟีนนั้นอยู่ในช่วงความยาวคลื่นประมาณ 1 มิลลิเมตร ซึ่งนอกจากจะเป็นช่วงคลื่นที่อยู่ในช่วงอินฟราเรดที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่าแล้ว ยังเป็นช่วงคลื่นที่สามารถถูกดูดกลืนได้ง่ายโดยความชื้นในชั้นบรรยากาศของโลก การจะศึกษาชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ในช่วงคลื่นนี้จึงสามารถทำได้เพียงจากหอสังเกตการณ์ที่ตั้งอยู่บนภูเขาสูงและแห้งแล้ง ปราศจากซึ่งไอน้ำในชั้นบรรยากาศ ซึ่งทางทีมงานได้ค้นพบสเปกตรัมที่เกิดขึ้นจากโมเลกุลของฟอสฟีนบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ขึ้นเป็นครั้งแรกผ่านทางกล้องโทรทรรศน์ James Clerk Maxwell Telescope (JCMT) บนยอดเขาโมนาเคอา ในหมู่เกาะฮาวาย จึงได้ศึกษาซ้ำโดยกล้องโทรทรรศน์วิทยุ 45 ตัวของ Atacama Large Millimeter/submillimeter Array (ALMA) ในทะเลทรายของประเทศชิลี และได้ยืนยันการค้นพบการดูดกลืนในช่วงคลื่นที่ตรงกับโมเลกุลของฟอสฟีน เหนือความร้อนระอุจากพื้นผิวดาวศุกร์ที่อยู่เบื้องล่าง จึงเท่ากับเป็นการยืนยันการมีอยู่ของฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ฟอสฟีนคืออะไร สำคัญอย่างไร?ฟอสฟีน (Phosphine) เป็นโมเลกุลที่เป็นสารประกอบระหว่างธาตุฟอสฟอรัสและไฮโดรเจน มีสูตรทางเคมี PH3 คล้ายกับโมเลกุลของแอมโมเนียที่ถูกแทนที่ด้วยฟอสฟอรัส บนโลกนั้นฟอสฟีนมีสถานะเป็นแก๊สที่ไม่มีสี ไวไฟ และเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างมาก อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทำให้การค้นพบฟอสฟีนบนดาวดวงอื่นเป็นสิ่งที่น่าสนใจเป็นอย่างมากนั้น เนื่องจากบนโลกนั้นฟอสฟีนมีแหล่งกำเนิดเพียงแค่สองแหล่ง คือ เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรม หรือเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ปราศจากออกซิเจน ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะว่าบนโลกนั้นแหล่งกำเนิดหลักของฟอสฟีนเกิดขึ้นจากปฏิกิริยารีดักชันของสารประกอบพวกฟอสเฟต แต่ไม่มีสภาพแวดล้อมใดบนโลกที่สามารถผลิตตัวรีดิวซ์ที่มีความแข็งแรงเพียงพอที่จะทำให้เกิดปฏิกิริยารีดักชันที่ผลิตฟอสฟีนได้อีกเลยนอกไปจากตัวรีดิวซ์ที่พบในสิ่งมีชีวิต นอกจากนี้ฟอสฟีนยังสามารถทำปฏิกิริยากับสารประกอบอื่นได้ง่าย การที่จะพบฟอสฟีนอยู่ในชั้นบรรยากาศได้จึงจำเป็นที่จะต้องมีแหล่งที่ผลิตฟอสฟีนมาชดเชยอย่างต่อเนื่อง ซึ่งคำถามแรกที่นักดาราศาสตร์จะต้องตอบให้ได้เสียก่อน ก็คือ มีกลวิธีใดอีกไหมบนดาวศุกร์ ที่อาจจะทำให้เกิดโมเลกุลของฟอสฟีนได้ ทีมนักวิจัยที่นำโดย William Bains จาก Massachusetts Institute of Technology (MIT) จึงลองทำการประเมินกลไกตามธรรมชาติที่อาจจะผลิตฟอสฟีนได้บนดาวศุกร์ ตั้งแต่ แสงแดด แร่ธาตุทื่ถูกพัดขึ้นมาจากพื้นผิวเบื้องล่าง ภูเขาไฟระเบิด ฟ้าผ่า ฯลฯ แต่ไม่ว่าจะลองพิจารณาเช่นไร การคำนวณก็พบว่าแหล่งกำเนิดตามธรรมชาติเหล่านี้ไม่สามารถที่จะผลิตแม้กระทั่งปริมาณฟอสฟีนหนึ่งในหมื่นของที่ตรวจพบโดยกล้องโทรทรรศน์ แต่ในทางตรงกันข้าม หากทีมลองพิจารณาถึงแหล่งกำเนิดที่เกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตแล้ว กลับพบว่าหากสิ่งมีชีวิตทำงานแค่เพียง 10% ของขีดจำกัดสูงสุด ก็จะสามารถผลิตฟอสฟีนเพียงพอที่จะอธิบายปริมาณที่ตรวจพบบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ได้แล้ว การค้นพบฟอสฟีนในปริมาณที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยกลไกตามธรรมชาตินั้นเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นเป็นอย่างยิ่ง และทำให้เราต้องกลับมาพิจารณาทฤษฎีการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์อีกครั้งหนึ่ง อย่างไรก็ตาม การค้นพบนี้ยังห่างไกลจากการยืนยันถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตพอสมควร แม้ว่าในปัจจุบัน ทฤษฎีที่บ่งชี้ว่าฟอสฟีนในชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์นั้นเกิดขึ้นจากสิ่งมีชีวิตจะเป็นทฤษฎีที่อธิบายถึงปริมาณฟอสฟีนที่พบได้ดีที่สุด แต่การจะยืนยันว่าดาวศุกร์นั้นมีสิ่งมีชีวิตยังเป็นเรื่องที่ห่างไกลอีกมาก แม้ว่าชั้นบรรยากาศตอนบนของดาวศุกร์อาจจะมีอุณหภูมิเพียง 30 องศา แต่ชั้นบรรยากาศในบริเวณนี้นั้นก็ยังเต็มไปด้วยกรดกำมะถันกว่า 90% ซึ่งเรายังไม่พบว่ามีสิ่งมีชีวิตใดบนโลกที่สามารถอยู่รอดในสภาวะเช่นนั้นได้ หากชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์มีสิ่งมีชีวิตจริง ก็เป็นไปได้ว่าสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์นั้นอาจจะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิงกับสิ่งมีชีวิตใดๆ บนโลกที่เรารู้จัก และแน่นอนว่าก็ยังมีความเป็นไปได้ว่าฟอสฟีนที่พบนั้นอาจจะเป็นเพียงผลผลิตจากปฏิกิริยาเคมีแบบใหม่ที่เรายังไม่รู้จัก แต่นั่นก็เท่ากับเป็นการบ่งชี้ว่าความเข้าใจทางด้านเคมีที่มนุษย์เรามีนั้นยังไม่สมบูรณ์ และยังมีปฏิกิริยาแปลกประหลาดบางอย่างซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้เพียงเฉพาะในสภาพแวดล้อมอันแปลกประหลาดบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์ ซึ่งหากเราพิจารณาว่าสิ่งที่เรารู้จักกันว่าเป็น "สิ่งมีชีวิต" บนโลกของเรา แท้จริงแล้วก็ไม่ได้ต่างอะไรกับปฏิกิริยาทางเคมีอันซับซ้อนและแปลกประหลาดเหนือสิ่งอื่นใดในธรรมชาติเช่นเดียวกัน ซึ่งการค้นพบแหล่งที่มาของฟอสฟีนบนดาวศุกร์ในอนาคตอาจจะทำให้เราต้องมาพิจารณานิยามของสิ่งที่เราเรียกว่า "สิ่งมีชีวิต" ขึ้นเสียใหม่ก็เป็นได้ และไม่ว่าเราจะพบสิ่งมีชีวิตบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์หรือไม่ การค้นพบนี้ย่อมเท่ากับเป็นการเปิดความเป็นไปได้ใหม่ในการหาสิ่งมีชีวิตจากต่างดาวไปโดยปริยาย แน่นอนว่า การศึกษาในอนาคตจะช่วยตอบคำถามเหล่านี้ให้กับเราได้ ในอนาคตอันใกล้ทีมนักวิจัยนี้จะทำการศึกษาต่อ เพื่อค้นหาว่าฟอสฟีนจะมีอยู่ในบริเวณอื่นบนเมฆของดาวศุกร์หรือไม่ และจะมีโมเลกุลอื่นใดอีกหรือไม่ ที่จะช่วยยืนยันถึงการมีอยู่ของสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ได้ ทั้งนี้ กล้องโทรทรรศน์ JCMT ที่ได้ค้นพบฟอสฟีนบนชั้นบรรยากาศของดาวศุกร์เป็นครั้งแรกนี้ เป็นหอดูดาวที่บริหารโดยเครือข่าย "หอดูดาวในเอเชียตะวันออก" หรือ East Asian Observatory (EAO) ซึ่งสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ได้ร่วมลงอนุสัญญานามเป็นสมาชิกร่วมอยู่ด้วย ถึงแม้ว่าอุปกรณ์ที่ตรวจพบฟอสฟีน จะถูกปลดประจำการและแทนที่ด้วยอุปกรณ์ที่ดีกว่าเดิมไปแล้ว แต่ใครจะไปรู้ ในอนาคตอันใกล้นี้ การค้นพบครั้งยิ่งใหญ่ถัดไปที่เกิดขึ้นบนหอดูดาวเช่น JCMT นี้ อาจจะมีชื่อของน้องๆ คนไทยที่กำลังอ่านบทความนี้อยู่ก็ได้ ข้อมูล : ดร. มติพล ตั้งมติธรรม – ผู้เชี่ยวชาญด้านดาราศาสตร์ สดร. อ้างอิง/อ่านเพิ่มเติม: "มีชีวิต" - Google News September 15, 2020 at 06:05AM https://ift.tt/2DYKxya พบหลักฐาน ที่อาจบ่งชี้ถึง สิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - ประชาชาติธุรกิจ "มีชีวิต" - Google News https://ift.tt/36bh0LC Home To Blog |
พบปริศนา ชี้อาจมีสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - NationTV Posted: 14 Sep 2020 07:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com นักดาราศาสตร์ยังไม่สามารถอธิบายถึงที่มาที่ไปของแก๊สตัวนี้ที่พบอยู่ในชั้นบรรรยากาศของดาว แต่ชี้ว่ามีความเป็นไปได้ที่มันจะมาจากสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ แก๊สตัวนี้มีชื่อว่า " ฟอสฟีน " โมเลกุลของแก๊ส ประกอบไปด้วย 1 อะตอมฟอสฟอรัส และ 3 อะตอมไฮโดรเเจน ซึ่งถ้าเป็นบนโลก แก๊สตัวนี้มีความเกี่ยวโยงกับชีวิต อย่างเช่นกับจุลชีวันที่อยู่ในลำไส้ของสัตว์อย่างเพนกวิน หรือสภาพแวดล้อมที่มีออกซิเจนน้อย อย่างเช่นในหนองบึง ในภาคอุตสาหกรรมก็สามารถก่อให้เกิดแก๊สตัวนี้ได้ แต่บนดาวศุกร์ ไม่มีโรงงาน หรือนกเพนกวิน ตอนนี้นักวิทยาศาสตร์จึงพยายามหาคำตอบว่าแล้วทำไมจึงพบแก๊สตัวนี้เหนือพื้นผิวดาวราว 50 กิโลเมตร มีการตีพิมพ์ผลการค้นพบแก๊สตัวนี้ในวารสาร " ดาราศาสตร์ธรรมชาติ " รวมถึงการพยายามแสดงให้เห็นว่า โมเลกุลของแก๊ส สามารถมีต้นกำเนิดมาจากธรรมชาติ โดยไม่เกี่ยวกับต้นกำเนิดทางชีววิทยา แต่จากข้อมูลที่มีอยู่เกี่ยวกับดาวศุกร์ทั้งหมด รวมถึงเงื่อนไขต่าง ๆ ยังไม่มีใครสามารถอธิบายถึงฟอสฟีนที่ไม่ได้มาจากสิ่งมีชีวิตได้ เมื่อพิจารณาจากปริมาณที่มีการตรวจพบ นั่นหมายความว่ามีความเป็นไปได้ที่มันจะมาจากแหล่งของสิ่งมีชีวิต ทีมของศาสตราจารย์เจน กรีฟส์จาก มหาวิทยาลัยคาร์ดิฟ ในสหราชอาณาจักร ตรวจพบฟอสฟีนบนดาวศุกร์ครั้งแรกด้วยความช่วยเหลือของกล้องโทรทรรรศน์เจมส์ เคิล์ก แม็กซ์เวลล์ที่ฮาวาย และยืนยันเรื่องนี้ด้วยกล้อง อะตาคามา ลาร์จ มิลลิเมตร / ซับมิลลิเมตร อาร์เรย์ ที่ชิลี ปริมาณของแก๊สที่พบนั้นถือว่าน้อย คือมีอยู่แค่ 10- 20 ส่วนในทุก ๆ พันล้านโมเลกุลบรรยากาศ แต่ในกรณีของดาวศุกร์ ก็ต้องถือว่ามากดาวศุกร์ ไม่อยู่ในรายชื่อแรก ๆ เมื่อพูดถึงชีวิตในระบบสุริยจักรวาล เพราะเมื่อเทียบกับโลกแล้ว ดาวศุกร์เปรียบได้กับหลุมนรกดี ๆ นี่เอง บรรยากาศของมัน 96 เปอร์เซ็นต์เป็นคาร์บอนไดออกไซด์ อุณหภูมิพื้นผิวเหมือนกับอยู่ในเตาอบพิซซา คือกว่า 400 องศาเซลเซียส ยานอวกาศที่ไปลงจอดที่นั่น อยู่ได้แค่ไม่กี่นาทีก็พัง แต่ที่บริเวณเหนือพื้นผิวดาวราว 50 กิโลเมตร มีสภาพที่ค่อนข้างสบายกว่ามาก ดังนั้น ถ้าจะมีสิ่งมีชีวิตอยู่ พวกมันก็น่าจะอยู่แถว ๆ นี้ เมฆของดาวศุกร์นั้นหนาแน่น และโดยหลัก ประกอบไปด้วยกรดซัลฟูริคราว 75-95 เปอร์เซ็นต์ ทำให้เป็นไปไม่ได้ที่มันจะก่อให้เกิดสิ่งมีชีวิตอย่างเช่นในโลก จากการศึกษาส่วนประกอบต่าง ๆ ที่คาดว่าจะมีอยู่บนดาวศุกร์ ทั้งจากภูเขาไฟ ฟ้าผ่า และอุกกาบาต นักวิทยาศาตร์ บอกว่าพวกมันมีความอ่อนแอมากกว่า 1 หมื่นเท่าสำหรับการที่จะสร้างแก๊สฟอสฟีนได้ และการที่จะอยู่ให้ได้ในสภาพกรดซัลฟูริก เชื่อกันว่าจุลชีวันในอากาศของดาวศุกร์ จะต้องพัฒนาเกราะพิเศษ หรือมีไบโอเคมีที่แตกต่างกันอย่างสุดขั้ว เรื่องโดย ไกรลักษณ์ งามโสภา | ภาพโดย Nation TV "มีชีวิต" - Google News September 15, 2020 at 06:27AM https://ift.tt/32utDAS พบปริศนา ชี้อาจมีสิ่งมีชีวิตบนดาวศุกร์ - NationTV "มีชีวิต" - Google News https://ift.tt/36bh0LC Home To Blog |
錦織圭383日ぶり勝利、ラモスにストレート勝ち - ニッカンスポーツ Posted: 14 Sep 2020 07:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com <テニス・イタリア国際>◇14日(日本時間15日)◇男子シングルス1回戦 世界35位で、日本のエースの錦織圭(30=日清食品)が、復帰2戦目で383日ぶりの勝利を飾った。同44位のラモス(スペイン)に6-4、7-6の2時間4分でストレート勝ち。19年全米2回戦以来の世界ツアー公式戦勝利となった。2回戦では、同17位のバブリンカ(スイス)-同249位のムセッティ(イタリア)の勝者と対戦する。 1年以上ぶりの勝利は生みの苦しみだった。マッチポイントを数えること6本目。5本を逃し続けたが、最後は、錦織のバックがネットイン。ポトリと相手のコートに落ち、あっけない幕切れで、1年以上ぶりの勝利をつかんだ。 勝って、ベンチに戻ったときの錦織の表情が、苦しさを物語った。肩で何度も「ハー、ハー」と息をしながら、顔をしかめた。久しぶりの勝利に浸る余裕もなく、本調子とはほど遠いながらも、何とか勝てた苦しさの方が上回っているようだった。 先週の復帰第1戦のジェネラリオープン1回戦より、第2セット以降の落ち幅は少なかった。第1セットの第10ゲームで、相手のダブルフォールト2本で奪うと、第2セットはタイブレークまでもつれた。3-2から4-2にできるポイントが4本、マッチポイントが5-4で3本、6-5で2本あったが、まだ感覚が戻らないのか、すべてを逃した。 それでも、1度も自分のサービスゲームを落とさず。相手の大事なポイントでのミスにも助けられ、何とかつかんだ勝利だ。苦しんでも勝てたことは、復帰途上の錦織にとっては非常に大きい。特に、今大会は、4大大会に次ぐ規模を誇るマスターズ大会だ。錦織復活へ、まずは第1歩を刻んだ。 からの記事と詳細 https://ift.tt/2ZEwwxf スポーツ |
「難しい状況だった」 ビジャレアル久保建英、新天地リーグデビュー戦の現地評価は?(Football ZONE web) - Yahoo!ニュース Posted: 14 Sep 2020 07:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com [unable to retrieve full-text content]
からの記事と詳細 https://ift.tt/3bWkCUz スポーツ |
総力G倒、まずは菅野ぶっ潰す!阪神・矢野監督「負けをつける」 - サンケイスポーツ Posted: 14 Sep 2020 07:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com 世紀の大一番だ。阪神・矢野燿大監督(51)は14日、東京入り。15日の巨人戦(東京ドーム)に備えた。負ければ、巨人に優勝マジック38が点灯。いきなり、開幕10連勝の菅野智之投手(30)が相手となるが「負けをつける」と総力で挑む覚悟を示した。 2番・梅野が弾けた。サンズと大山も本塁打王争いをする。広島に同一カード3連勝とたたきのめして、東京に降り立った。ついに伝統の一戦。矢野監督は総力戦で巨人の優勝マジック点灯を阻止することを約束した。 「菅野に負けをつけるというのは、ある意味、いいモチベーションとして戦っていけたら。第1戦をどうやってとるか。全員で戦っていくしかない」 4連勝で貯金を今季最多の4まで積み上げた。巨人は引き分けを挟んでの7連勝中で貯金23。「向こうは余裕があるわけやし。俺らは余裕はない」。開幕10連勝中の菅野が立ちはだかり胸突き八丁となるが、膝を折らせる自信がある。3連勝で潮目を変える。 「東京ドームは本塁打が出やすい球場やし、どうなるか本当にわからないと思うんで」 今季、チームは東京ドームで6戦全敗。8月18日からの3連戦は9年ぶりとなる36イニング連続無得点で3戦連続完封負けという屈辱を味わった。まさに鬼門となるが、打倒巨人という気持ちが数々のドラマを呼んできたのも事実である。 からの記事と詳細 https://ift.tt/2ZBK2ln スポーツ |
【竹岡圭の大きな夢を】第12回「大事な仲間や応援してくれる方と、ずっとラリーを続けたい」北川紗衣さん(レスポンス) - Yahoo!ニュース Posted: 14 Sep 2020 06:54 PM PDT comot.prelol.com [unable to retrieve full-text content] 【竹岡圭の大きな夢を】第12回「大事な仲間や応援してくれる方と、ずっとラリーを続けたい」北川紗衣さん(レスポンス) Yahoo!ニュース"一緒に来る" - Google ニュース September 14, 2020 at 07:00PM https://ift.tt/3hquXsU 【竹岡圭の大きな夢を】第12回「大事な仲間や応援してくれる方と、ずっとラリーを続けたい」北川紗衣さん(レスポンス) - Yahoo!ニュース "一緒に来る" - Google ニュース https://ift.tt/2tj0gCV Mesir News Info Israel News info Taiwan News Info Vietnam News and Info Japan News and Info Update https://ift.tt/2SIu0T8 |
シャープ、不織布マスク「小さめサイズ」抽選発売。女性や小学校高学年以上の子供の顔にフィット(Impress Watch) - Yahoo!ニュース Posted: 14 Sep 2020 06:54 PM PDT comot.prelol.com [unable to retrieve full-text content] シャープ、不織布マスク「小さめサイズ」抽選発売。女性や小学校高学年以上の子供の顔にフィット(Impress Watch) Yahoo!ニュース"以上" - Google ニュース September 14, 2020 at 11:06AM https://ift.tt/3iw4AmL シャープ、不織布マスク「小さめサイズ」抽選発売。女性や小学校高学年以上の子供の顔にフィット(Impress Watch) - Yahoo!ニュース "以上" - Google ニュース https://ift.tt/2Oh2Twi Mesir News Info Israel News info Taiwan News Info Vietnam News and Info Japan News and Info Update https://ift.tt/2SIu0T8 |
「原発事故も自助か」 帰還困難区域の被災者が菅氏に訴え 福島 - 毎日新聞 - 毎日新聞 Posted: 14 Sep 2020 06:34 PM PDT 東日本大震災・原発事故からの復興、新型コロナウイルス対策など、課題が山積する中、事実上の次期首相となる自民党新総裁に14日、菅義偉官房長官が選出された。「自助、共助、公助」が旗印の菅氏に対し、福島県内の被災者やコロナ禍に苦しむ人たちからは、政府の主体的な取り組みを求める声が相次いだ。 「原発事故も自助から始めるのか。国のリーダーは公助から始めるべきでは」。帰還困難区域となっている浪江町赤宇木(あこうぎ)地区で自治会組織の副会長を務める今野邦彦さん(61)は午後3時すぎ、桑折町の避難先にあるテレビで、新総裁に選出された菅氏のあいさつを聞きながら、こう漏らした。 赤宇木に家を構えて20代目。築1… "被災者" - Google ニュース September 15, 2020 at 06:37AM https://ift.tt/33t3jX9 「原発事故も自助か」 帰還困難区域の被災者が菅氏に訴え 福島 - 毎日新聞 - 毎日新聞 "被災者" - Google ニュース https://ift.tt/2GlMulZ Shoes Man Tutorial Pos News Update Meme Update Korean Entertainment News Japan News Update |
金星に生命体? 硫酸の雲からホスフィンガス検出、潜在的痕跡か(字幕・15日) - ロイター (Reuters Japan) Posted: 14 Sep 2020 06:34 PM PDT taritkar.blogspot.com [unable to retrieve full-text content] 金星に生命体? 硫酸の雲からホスフィンガス検出、潜在的痕跡か(字幕・15日) ロイター (Reuters Japan)からの記事と詳細 https://ift.tt/33vI5YK 科学&テクノロジー |
錦織が嬉しい復帰後初勝利!ATPも「ケイの新しい武器」を称賛(THE TENNIS DAILY) - Yahoo!ニュース Posted: 14 Sep 2020 06:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com [unable to retrieve full-text content]
からの記事と詳細 https://ift.tt/3bYi87U スポーツ |
開幕戦で日本人対決実現、久保建英と岡崎の評価は… - ニッカンスポーツ Posted: 14 Sep 2020 06:17 PM PDT tinggalaja.blogspot.com ビリャレアルとウエスカが13日、2020-21シーズンのスペイン1部リーグ開幕戦で対戦し、1-1で引き分けた。後半途中から途中出場した久保建英(19)、スペイン1部デビュー戦でフル出場した岡崎慎司(34)について、試合後のスペイン紙の評価はともに高いものではなかった。 スペイン紙マルカはFWアルカセルに代わって後半32分よりピッチに入り、トップ下でプレーした久保について1点(最高3点)をつけた。PKで同点にしたMFモレノがチームトップの2点、DFペーニャ、MFコクランが最低の0点、それ以外の11選手は久保と同じ1点だった。 一方、スペイン紙アスはビリャレアルに比較的厳しい評価を下している。そんな中、久保は1点(最高3点)をつけられた。その他、モレノはチームトップの最高の3点。ペーニャ、DFペドラサ、MFチュクウェゼ、MFパレホ、コクラン、アルカセルの6選手は最低の0点。FWニーニョは出場時間が短かったため評価がなく、それ以外の6選手は久保と同じ1点だった。 また、アス紙は久保について「慌ててピッチに入り、何度か相手ゴールに迫るも試合の均衡を破ることはできなかった。困難だった」と短い時間での途中出場が難しかったことを強調した。 マルカ紙は岡崎に1点をつけた。ウエスカトップはFWアンドレス・フェルナンデス、ゴールを決めたDFマフェオ、DFプリード、DFインスア、MFモスケラ、MFフアン・カルロス、MFミケル・リコの7選手で2点。出場時間が短かったDFルイジーニョとMFホアキンは評価なく、それ以外の6選手は岡崎と同じ1点だった。 アス紙の岡崎の評価は1点だった。その他、アンドレス・フェルナンデスが最高の3点、DFガラン、MFフェレイロ、フアン・カルロス、モスケラの4選手が2点、ホアキン、ルイジーニョは出場時間が短く評価がなかった。それ以外の8選手は岡崎同様の1点となっている。 ビリャレアルは次節、19日にホームで乾貴士が所属するエイバルと戦う。一方、ウエスカは20日にホームで同じ昇格組のカディスとの対戦になる。(高橋智行通信員) からの記事と詳細 https://ift.tt/33xrlQQ スポーツ |
「データ以上、企画未満」にご用心! 顧客データに基づいて企画を作るには - Web担当者Forum Posted: 14 Sep 2020 05:54 PM PDT comot.prelol.com 前回はデータの正しい捉え方を解説しましたが、顧客のデータをきちんと集めても、そのまま企画ができるわけでもありません。『顧客体験マーケティング』の著者、芹澤 連氏が、理想的な顧客体験を実現するための企画を、きちんと実際の顧客から生み出すための視点を解説します。(第3回・最終回) 不十分な顧客データは、アイデアの飛躍なくして企画にならない企画を作るためには、まずはさまざまなデータを集めることから始めると思います。しかし、データをどれだけ地道に調べても、それが企画書になる際には、外部からの要求や事情がデータとは関係なく絡んできて、結果的にあまりデータとは関係のない企画書になってしまった、という経験はないでしょうか。筆者もさまざまなプロジェクトを経験していますが、データがそのまま企画になるような、キレイなまとまり方をするケースは少ないように思います。 データを地道に調べても、データとあまり関係のない企画書ができてしまう…… 今回は、そもそもどうしてデータと企画の間の断絶が起こるのか、断絶しないためにはどうすればいいのかについて解説したいと思います。 まず、すでに第1回、第2回で述べたように、正しく成果や企画につながりうる顧客理解を行っていなければ、企画にまとめる際にアイデアによる飛躍が求められる幅が大きくなります。はじめから企画や施策の出口を意識して顧客を理解していれば、データと企画の間の断絶は少なくなります。 あなたが作っている企画が、横から差し込まれる意見でひっくり返されることを防ぎたいのであれば、まずは自分がどのように顧客と向き合うのかを見直すことが肝心です。 「データ以上、企画未満」は魔の領域では、企画を作るにあたってデータを集めたとします。皆さんはデータが集まった後、企画を作るためにまず何をしているでしょうか。たとえば、会議やワークショップなどを行って、アイデアを出して企画をまとめようと議論をする、という過程を踏むことが多いと思います。 このタイミングを筆者は「データ以上、企画未満」の領域と呼んでいます。データと企画が連続しなくなるのは、この領域に問題があるケースがほとんどです。データを集めるまではデータドリブンでも、特に日本では十中八九、このタイミングの前後で"声の大きな人"ドリブンや"先に言った人"ドリブンに転じます。 なぜこんなことが起こるのでしょうか。いくらデータが進化しても、データから次の戦略や施策を生み出す「つなぎの仕組み」がないままだからです。その結果、「データ以上、企画未満」の領域がデータとは無関係に埋められて、属人的なアイデアで次の戦略や施策が決まります。 アイデアが悪いという話ではありません。私の問題意識は、データからどれだけ良いアイデアを生み出せるかは個人の力量次第になってしまう、という部分にあります。今は色々なデータが手に入ります。コンピューターも進化しました。しかしデータや計算機は「解くべき問題」を教えてくれません。顧客体験がどうあるべきかについては、それを提供する側の人間が考える必要があります。 「だからこそ関係者全員が実在の顧客と向き合って、理解を深めるべきだ」というのも正論で、まったくその通りです。しかし向き合う姿勢や時間があっても、全員が全員気づきを得られるわけではありませんし、良いアイデアを導き出せるわけでもありません。 つまり、「データ以上、企画未満」の領域の問題を解決することが、きちんとデータに基づいた企画を作る上で重要となるわけです。 「データ以上、企画未満」を埋める「アクセプターモデル」今まさに企画書を作ろうとしているマーケターの皆さんにとって、「データ以上、企画未満」を埋めるためには、きちんとデータがアウトプットにつながる道筋が必要です。顧客を理解し、顧客が商品・サービスを選ぶという「モノが売れる仕組み」そのものを、どのように考えて組み立てればいいのでしょうか。 「モノが売れる仕組み」とは、言い換えればマーケティングそのものです。マーケティングという世界をひとまとめに論じることはもちろん容易ではありませんが、著者らは合わせて100以上のブランド、5,000人以上の顧客体験を分析した結果、ブランドが顧客に受け入れられるプロセスにはある一定の共通構造があることを突き止めました。これを「アクセプターモデル」と呼んでいます。 このアクセプターモデルを使うと、ブランドを価値として成立させた変化を顧客体験から抽出して、より多くの顧客に向けた施策として再現することができます。たとえば次のCM絵コンテは、あるブランドの購買意欲を高めることをゴールに、ファンの体験をデータドリブンで再構築したものです。 アクセプターモデルについては、共著者の村山がマンガで説明した記事もあるので参考にしてみてください。 参考:アフターコロナで変化した顧客体験を4ステップで分析「売れる」を仕組み化する【マンガで解説】https://webtan.impress.co.jp/e/2020/09/09/37370 変化の時代を乗り切るための「顧客体験マーケティング」今回の連載を通して、顧客理解のための視点や、顧客理解から企画(顧客体験)を生み出すためのポイントについて解説しました。特に第3回では、「データ以上、アイデア未満」の領域を埋めることがいかに難しいか、またこの領域をきちんと埋めて「モノが売れる仕組み」を作ることの重要性をお話ししました。 「モノが売れる仕組み」、つまりマーケティング計画全体を組み立てることは容易ではありませんが、それをなるべく仕組みに落とし込み、再現性の高い方法で作れるようにしたマニュアルが、筆者が執筆した『顧客体験マーケティング』という書籍です。 日本では分析や企画といった「考えること」に大きなコストを投下する習慣がありません。目に見えて成果につながるアウトプットを直接的に生み出さない(と信じられている)からです。しかし顧客について「考えること」はもはや付帯業務ではなく、ビジネスの成果を生み出す根幹です。 顧客体験はすでに多くの企業でミッションの核として扱われるようになりました。また、顧客1人1人に合わせた体験を提供するパーソナライゼーションが進化していけば、「広告かコンテンツか」「製品かサービスか」といった区分は意味をなさなくなります。代わりにブランドとして「何を語るか」というストーリーの質、「どんな体験をしてもらうか」というサービスの深さがより一層重要になり、顧客体験を考えること自体が売上や顧客獲得といった成果により強く結びついていくと予想できます。 顧客について「考えること」に出口を用意して、アウトプットを生み出す道筋を与える――このことは顧客体験がビジネスの中心になっていくにつれて、より大きな意味を持ちます。 現在は変化の時代です。この先データ×AIの動きが進展すれば、生活の中心はどんどんデジタルへ移っていくでしょう。そのような世界になったとき、ビジネスの成功則はもはや我々の頭の中や過去事例にはなく、デジタル中心の世界の価値を当たり前に享受して生きている生活者の体験から学ぶしかありません。 そうした局面で、本書が解説する『顧客体験マーケティング』は大きな武器になるでしょう。つまりブランドが価値となる条件を実際の顧客の体験から学び、その理解を基に「ブランドが語るべきストーリー」や「提供すべき体験」を生み出し、施策や商品コンセプト、クリエイティブなどに落とし込むスキルです。マーケターに限らずすべてのビジネスパーソンに、『顧客体験マーケティング』を参考にしていただければ幸いです。 "以上" - Google ニュース September 15, 2020 at 05:00AM https://ift.tt/3bYnVub 「データ以上、企画未満」にご用心! 顧客データに基づいて企画を作るには - Web担当者Forum "以上" - Google ニュース https://ift.tt/2Oh2Twi Mesir News Info Israel News info Taiwan News Info Vietnam News and Info Japan News and Info Update https://ift.tt/2SIu0T8 |
You are subscribed to email updates from IFKNews. To stop receiving these emails, you may unsubscribe now. | Email delivery powered by Google |
Google, 1600 Amphitheatre Parkway, Mountain View, CA 94043, United States |